ประเภทของบรรจุภัณฑ์
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ แบ่งได้ 3 ประเภท
1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย ( Individual Package ) คือ บรรจุภัณฑ์ชั้นแรกที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ์มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและการโฆษณา มีรูปร่างหลายลักษณะ เช่น ขวด กระป๋อง หลอด กล่อง ถุง เป็นต้น ซึ่งจะทำให้มีรูปร่างที่เหมาะสมกับการจับ การถือ และช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน พร้อมทั้งทำหน้าในการป้องกันผลิตภัณฑ์โดยตรง
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ แบ่งได้ 3 ประเภท
1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย ( Individual Package ) คือ บรรจุภัณฑ์ชั้นแรกที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ์มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและการโฆษณา มีรูปร่างหลายลักษณะ เช่น ขวด กระป๋อง หลอด กล่อง ถุง เป็นต้น ซึ่งจะทำให้มีรูปร่างที่เหมาะสมกับการจับ การถือ และช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน พร้อมทั้งทำหน้าในการป้องกันผลิตภัณฑ์โดยตรง
2 . บรรจุภัณฑ์ชั้นใน ( Inner Package ) คือ บรรจุภัณฑ์ที่อยู่ถัดออกไปเป็นชั้นสอง มีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ ชั้นแรกเข้าไว้ด้วยกันเป็นชุด และป้องกันสินค้าจากความชื้น ความร้อน แสงแดด การกระทบกระเทือนและอำนวยการความสะดวก ในการขายปลีกและขายส่ง เช่น กล่องกระดาษที่บรรจุ เครื่องดื่มจำนวน 6 ขวด ฟิล์มหดรัดรูปสบู่จำนวน 6 ก้อน
3. . บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด ( Outer Package ) คือ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ที่ใช้ในการขนส่ง โดยปกติผู้ที่ซื้อไม่ได้เห็นบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ เนื่องจากทำห้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์ในระหว่างขนส่ง เท่านั้น ลักษณะบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ เนื่องจากทำหน้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์ในระหว่างขนส่งเท่านั้น ลักษณะบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ได้แก่ หีบไม้ ลังไม้ กล่องกระดาษใหญ่ ภายนอกจะบอกเพียงรหัสสินค้า เลขที่ ตราสินค้า สถานที่ส่ง เป็นต้น
วัสดุและรูปแบบของบรรจุภัณฑ์
วัสดุบรรจุภัณฑ์ หมายถึง วัสดุที่นำมาใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์ โดยการนำคุณสมบัติที่ดีเด่นของวัสดุต่างชนิดกัน มาสร้างสรรค์ดัดแปลงให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ เพื่อการขนส่งและการจำหน่าย
วัสดุภัณฑ์แบ่งได้ 4 ประเภท
วัสดุบรรจุภัณฑ์ หมายถึง วัสดุที่นำมาใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์ โดยการนำคุณสมบัติที่ดีเด่นของวัสดุต่างชนิดกัน มาสร้างสรรค์ดัดแปลงให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ เพื่อการขนส่งและการจำหน่าย
วัสดุภัณฑ์แบ่งได้ 4 ประเภท
2. บรรจุภัณฑ์ประเภทกระป๋อง (CAN) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เนื่องจากการใช้งานที่สะดวก รูปร่างแปลกใหม่ กระป๋องทำจากวัสดุหลายประเภท เช่น โลหะพลาสติก กระดาษ เป็นต้น เราจำแนกกระป๋อง ได้เป็น 4 ประเภทดังน้
2.1.2 แผ่นเหล็กไม่เคลือบดีบุก เป็นแผ่นเหล็กที่นำวัสดุอื่นมาเคลือบแทนดีบุกเพื่อลดต้นทุนในการผลิต เช่น นำโครเมตผสมฟอสเฟต มาเคลือบกระป๋องใช้บรรจุเบียร์ น้ำผลไม้และถังโลหะชนิดต่าง ๆ นำโครเมียมผสมโครเมียมออกไซด์ เพื่อป้องกันการกัดกร่อนนิยมนำมาใช้บรรจุอาหารทะเล นมข้นหวาน
2.1 กระป๋องบรรจุอาหารและเครื่องดื่มเป็นการนำโลหะมารีดเป็นแผ่น แล้วนำไปขึ้นรูปตามความต้องการได้แก่ 2.1.1 แผ่นเหล็กเคลือบดีบุก เป็นแผ่นเหล็กดำ
นำมาเคลือบผิวหน้าด้านเดียว
หรือทั้งสองด้านด้วยดีบุก มีความหนา
ประมาณ 0.15-0.5 มิลลิเมตร
เพื่อให้ทนต่อการผุกร่อนแล้วไม่เป็นพิษ
2.1.3 อะลูมิเนียมหรือโลหะผสมอะลูมิเนียม มีคุณสมบัติที่ดี คือ น้ำหนักเบาทนทานต่อการกัดกร่อนเนื่องจากความชื้น แต่ไม่สามารถใช้กับอาหารที่มีความเป็นกรดเป็นด่างสูงนิยม นำมาใช้กับกระป๋องบรรจุเบียร์ น้ำอัดลม กระป๋องสำหรับฉีดพ่น กระป๋องบรรจุเครื่องสำอาง
2.2.1 แบบ Spiral Winding เป็นการม้วนกระดาษพับเป็นเกลียวเฉียงขึ้นไป เหมือนกับแกนของกระดาษชำระ เมื่อพันเสร็จแล้วยังไม่แห้ง หลังจาปล่อยให้หายแล้วจึงตัดเป็นท่อนนิยมใช้บรรจุอาหารประเภทขนมขบเคี้ยว
2.2 กระป๋องกระดาษ ( Composite Can ) ประกอบด้วยกระดาษมาตรฐาน 180 กรัม ต่อตารางเมตร นำมาประกอบกับแผ่นอะลูมิเนียมเปลวแล้วประกบกับฟิล์มเอทีลีน ( Ethylene ) อีกชั้นหนึ่ง โดยใช้กระดาษอยู่ที่ชั้นนอกพลาสติกอยู่ชั้นในมีกระบวน การผลิต 2 วิธี
2.2.2 แบบ Parallel Winding ใช้กระดาษชุบกาวพับรอบแกนทับกันไปเรื่อย ๆ จนได้ความหนาที่ต้องการ นิยมใช้บรรจุสินค้าทีมีน้ำหนักมาก เช่น ถังบรรจุสารเคมี ตู้เย็น เครื่องซักผ้า
2.3 กระป๋องยุคอวกาศ เป็นภาชนะที่ใช้สำหรับบรรจุอาหารที่ได้รับกาพัฒนา ให้เป็นภาชนะที่สามารถอุ่นหรือแช่เย็นอาหารได้ โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานหรืออุปกรณ์ใด ๆ เช่น ก๊าซ ไฟฟ้า ตู้เย็น ตู้อบ
- ภาชนะบรรจุอาหารที่อุ่นอาหารได้เอง อาศัยปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมออกไซด์กับน้ำ แต่อาจจะมีการเติมโดโลไมต์ แมกนีเซียมออกไซด์ลงไปด้วยก็ได้ เมื่อปฏิกิรกยาเคมีเกิดขึ้นจะมีอุณหภูมิสูงถึง 240 – 260 องศาเซลเซียส ภายในเวลา 3 -5 นาที และมีไอน้ำเกิดขึ้นมากจึงต้องมีวัสดุดูดซับไอน้ำไว้ ส่วนใหญ่เราใช้กระดาษ ผ้าวัสดุดูดซับไอน้ำ เนื่องจากความร้อนที่เกิดอุณหภูมิสูง วัสดุที่นำมาผลิตเป็นภาชนะต้องเป็นภาชนะต้องเป็นวัสดุที่ทนความร้อนได้ดี เช่น อะลูมิเนียม พลาสติกชนิดพอลิโพรไพลีน ( Polyproplyene : PP )
- ภาชนะบรรจุอาหารที่แช่เย็นได้เอง อาศัยปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารผสมของ
แอมโมเนียมไนเตรต กับแอมโมเนียมคลอไรด์กับน้ำเมื่อเกิดปฏิกิริยาขึ้นจะทำให้อุณหภูมิิลดลงใกล้เคียงจุดเยือกแข็งประมาณ7องศาเซลเซียส ภายในระยะเวลา 3- 5 นาที
2.4 กระป๋องวัสดุร่วม เป็นกระป๋องที่ตัวและฝากระป๋องที่ตัวและฝากระป๋องทำมา จากวัสดุต่างชนิดกัน เช่น ตัวกระป๋องทำจากกระดาษหรือพลาสติก ฝาทำจากโลหะ จะเห็นได้ว่าวัสดุทีทนำมาใช้ในกระบวนการผลิตมีหลากหลาย ดังนั้นกรรมวิธีในการขึ้นรูปจึงขึ้นอยู่กับ ชนิดของวัสดุที่นำมาใช้
2.5 กระป๋องฉีดพ่นหรือกระป๋องสเปรย์ ( Aerosols ) คือบรรจุภัณฑ์ที่อัดด้วยความดัน และมีวาลว์ สำหรับฉีดพ่น ได้แก่ เครื่องสำอางน้ำยาระงับกลิ่น ครีมโกนหนวด น้ำหอม ยาฆ่าแมลงสีพ่นรถยนต์ เป็นต้น วัสดุที่นำมาใช้ในการผลิตกระป๋องฉีดพ่น มีหลากหลายชนิด อาทิ แก้วพลาสติก อะลูมิเนียม โลหะเคลือบผิว ซึ่งก็มีข้อดี ข้อเสียต่างกัน ดังนั้นในการเลือกใช้วัสดุต้องคำนึง ถึงผลิตภัณฑ์ที่นำมาบรรจุ เช่น ผลิตภัณฑ์พ่นที่มีการกัดกร่อนโลหะ |
หรือไม่ต้องการให้เกิดปฏิกิริยากับสารอื่น ก็ควรเลือกบรรจุภัณฑ์ที่ทำมาจากแก้ว แต่แก้วมีข้อเสียตรงที่แตกง่ายและทนต่อแรงดันน้อย ดังนั้นในกระบวนการผลิตมักเคลือบด้วยพลาสติกจำพวก พอลิไวนิลลิดีนคลอไรด์ ( Polyvinylidinechloride : PVDC ) เพื่ออุดรอยรั่วและทำให้แก่วมีความทนทานต่อแรงดันภายในได้
พลาสติกจัดเป็นสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ในสภาวะปกติ
จะแข็งตัวแต่สามารถทำให้เหลวได้ หากใช้ความร้อนและความดันที่เหมาะสม พลาสติกที่นิยมนำมาใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ คือ พอลิเอทาลีน (Polyethylene : PE) พอลิโพรไพลีน (Polypropylene :PP) พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC )พอลิสไตรีน(Polystyrene : PS )
พอลิเอไมด์ ( Polyamide : PA ) พอลิเอทีลีนเทเรฟทาเลต ( Polyethylene Telleftalate :PET )
พอลิไวนิลลิดีนคลอไรด์ ( Polyvinylidinechloride : PVDC ) พลาสติกที่นำมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์
จำแนกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ
3.1 พวกที่เปารีดเป็นแผ่นหรือเรียกกันว่า ฟิล์ม ใช้ทำถุงหรือห่อรัดสินค้า
เช่น ฟิล์มยืด ฟิล์มหด การผนึกแบบแผ่น
3.2 พวกที่ขึ้นรูปเป็นภาชนะบรรจุคงรูป เช่น ขวด กล่อง ถัง ลัง โฟม ตะกร้า
3.1 พวกที่เปารีดเป็นแผ่น ได้แก่
3.1.1 ฟิล์มยืด ( Stretch Film ) คือ ฟิล์มพลาสติกชนิดหนึ่ง ที่มีความเหนียวและความ
ยืดหยุ่นตัวสูง ฟิล์มยืดจะเกาะติดกันเองได้เมื่อดึงฟิล์มให้ยืดออกเล็กน้อย ทำให้สะดวกในการห่อรัดสินค้านิยมนำมาใช้ห่อรัดผลิตภัณฑ์ที่เสียง่ายเมื่อถูกความร้อน เช่น ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์และอาหารสด ซึ่งวางขายตามซุปเปอร์มาเก็ตทั่วไป พลาสติกที่นำมาใช้ผลิตฟิล์มยืด คือ พอลิเอทาลีน
( Polyethylene : PE ) ) พอลิโพรไพลีน ( Polypropylene : PP ) พอลิไวนิลคลอไรด์
( Polyvinylchloride : PVC ) โดยในกระบวนการผลิตจำเป็นต้องเติมสารบางชนิดลงไปเพื่อเพิ่ม
คุณภาพที่ดีขึ้น ได้แก่
(1) สารเกาะติด ( Cling Agent ) เพื่อช่วยให้ฟิล์มยืดเกาะติดกันได้ดีขึ้น เมื่อใช้ห่อสินค้า
(2) สารป้องกันออกซิเดชั่น เพื่อป้องกันการสลายตัวของพลาสติก ในระหว่างการผลิต
(3) สารป้องกันการเกาะติด (Antiblock Agent) ปงกันฟิล์มยืดเกาะติดกันแน่นขณะม้วนหรือพับกันเป็นขดใหญ่
(4) สารป้องดกันรังสีอุลตร้าไวโอเลต ( UV Inhibitor ) เพื่อเป็นการยืดอายุของฟิล์มยืดในการใช้งาน นอกอาคาร
3.1.2 ฟิล์มหด ( Shrink Film ) คิพลาสจติกที่ทำให้เรียงตัวกันในขั้นตินของการผลิตฟิล์ม พลาสติกที่นำมาผลิตเป็นฟิล์มหด คือ พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC ) และพอลิเอทีลีนชนิดความ หนาแน่นต่ำ ( Low Doensity Polyethylene : LDPE ) การใช้งานทำได้โดยการนำฟิล์มมาทำเป็นถุงแล้วสวมครอบสินค้าอย่างหลวม ๆ จากนั้นนำไปผ่านความร้อน
ซึ่งได้มาจาก ปืนก๊าซหรืออุโมงค์ความร้อน เป็นผลให้ฟิล์มหดตัวและรัดแน่นติด กับสินค้าที่ครอบอยู่
นิยมนำไปห่อรัดสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่มีหลายชิ้นให้เป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการขนส่งสินค้าและเก็บรักษา เช่น กระดานไวท์บอร์ด เครื่องเขียน สมุด ใช้หุ้มสินค้าปลีกกับของแถมเข้าด้วยกันเป็นต้น
การผนึกแบบแผ่น เป็นการหีบห่อสินค้าที่อาศัยเพียงพลาสติกกับแผ่นกระดาษแข็ง ๆ
ก็สมารถห่อหุ้มสินค้าได้ มี 2 วิธี คือ
(1) การผนึกแบบบลิสเตอร์ (Blister Packaging ) เป็นกานนำพลาสติกประเภทเซลลูโลส พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC ) พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS ) ที่ขึ้นรูปตามรูปร่างของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ มีแผ่นกระดาษแข็งรองด้านล่าง โดยสารเคลือบให้ผนึกติดกัน สินค้าที่นิยมบรรจุด้วยวิธีนี้ ได้แก่ เครื่องสำอาง ของเล่น อุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็ก เป็นต้น
(2) การผนึกแบบสกิน ( Skin Packaging ) เป็นการนำตัวสินค้าหรือผลิตภัณฑ์มาเป็นแบบให้กับแผ่นพลาสติก โดยพลาสติกที่ใช้ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride :PVC)
พอลิเอทาลีน ( Polyethylene : PE ) และไอโอโนเมอร์ และทำการบรรจุแบบสุญญากาศ ทำให้แผ่นพลาสติกแนบติดกับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่นิยมบรรจุด้วยวิธีนี้ได้แก่ ตะเกียง
เครื่องพิมพ์ดีด กระเบื้อง แก้วเจียรใน เป็นต
3.2 พวกที่ขึ้นรปูเป็นภาชนะบรรจุคงรูป ได้แก่
3.2.1 ขวดพลาสติก นิยมนำมาใช้แทนขวดแก้ว เพราะผลิตได้รวดเร็ว สวยงาม ราคาถูก
เนื่องจากขวดพลาสติกเป็นภาชนะบรรจุชนิดแข็ง ( Rigid Container ) มีประโยชน์ในการคุ้มครองสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทั้งทางด้านความแข็งแรงด้านคุณภาพ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของพลาสติกที่นำมาใช้ในการผลิต พลาสติกที่นำมานิยมผลิตเป็นขวดพลาสติก มีคุณสมบัติและประโยชน์การนำไปใช้
ดังนี้ชนิดพลาสติกและการนำไปใช้ประโยชน์
- พลาสติกชนิดพอลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นสูง ( High Density Polyethylene : HDPE)
คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 121 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย มีกลิ่นเหม็นเหมือนขี้ผึ้งพาราฟิน
ป้องกันน้ำซึมผ่านได้ไม่ทนต่อไขมัน น้ำมัน กรด
การนำไปใช้ประโยชน ขวดนม กล่องผงซักฟอก ขวดน้ำดื่ม ที่ใส่เครื่องสำอาง- พลาสติกชนิดพอลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นสูง ( High Density Polyethylene : HDPE คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 149 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย ไม่ดับเอง มีกลิ่นเหม็นเหมือนขี้ผึ้งพาราฟิน
ป้องกันน้ำซึมได้ดี ทนกรดได้ปานกลาง ไม่ทนความเย็น การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดยา ขวดบรรจุน้ำผลไม้ ขวดแชมพู ขวดบรรจุเครื่องสำอาง
- พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC ) คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 74-93 องศา เซลเซียส ติดไฟค่อนข้างยากและดับ มีกลิ่นเหม็นเหมือน
ขี้ผึ้งพาราฟิน ป้องกันน้ำซึมได้ดี ทนกรดได้ดี
การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดน้ำมันพืช ขวดน้ำส้มสายชู ขวดเครื่องสำอาง ขวดบรรจุผลิตภัณฑ์เคมี
พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS )
คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 70-107 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย ดับเอง มีควันดำ มีกลิ่นเหมือนดอกไม้
ทนกรดได้ปานกลาง
การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดบรรจุยา ขวดบรรจุวิตามิน ขวดบรรจุเครื่องเทศ ขวดบรรจุนม
พอลิเอทีลีนเทเรเลต( Polyethylene Telleftalate : PET )
คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 250 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย ไม่ดับเอง มีกลิ่นทำให้เวียนศีรษะ
มีลักษณะใสเหมือนแก้ว ป้องกันน้ำ ไขมัน ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกด์ได้ดี
การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดน้ำอัดลม ขวดเบียร์ ขวดแชมพู ขวดโคโลญ ขวดโลชั่น
3.2.2 รีทอร์ต เพาซ์ ( Retort Pouch ) เป็นบรรจุภัณฑ์รูปแบบหนึ่งที่สามารถบรรจุสินค้า
หรือผลิตภัณฑ์แล้วนำไปฆ่าเชื้อด้วยความร้อน คุณสมบัติของ2 รีทอร์ต เพาซ์ ต้องทนอุณหภูมิ
ที่ต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และสูงถึง 120 องศาเซลเซียส ช่วยในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ไว้ได้นาน
หลายปี รูปทรงของรีทอร์ตเพาซ์ที่นิยมมากที่สุดคือ เป็นถุงประกอบด้วยฟิล์มพลาสติกซ้อนกันหลาย
ชั้นมักมีการเสริมด้วย อะลูมิเนียมฟอยด์ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการกันน้ำและก๊าซได้ นิยมนำมาใช้
ในการบรรจุอาหาร
3.2.3 โฟม ( Foam ) เป็นพลาสติกประเภทหนึ่ง โดยการนำเม็ดพลาสติก อาทิ
( Polyethylene : PE ) พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS ) พอรียูรีเทน ( Polyulytane : PU )
พลาสติก ที่นิยม ใช้มากที่สุด คือ พอลิสไตรีนที่ขยายตัวแล้วเรียกว่า Expanted Polystyrene ( EPS)
นำมาเติมสารเร่งฟู จำพวก ไฮโดรคาร์บอน เช่น เพนเทน ฟรีออน แล้วใช้ความร้อยเข้าไป
จนกระทั่งสารเร่งฟูเกิดการสลายตัว กลาย เป็นก๊าซ
ซึ่งก๊าซที่เกิดขึ้นนี้จะแทรกตัวเข้าไปในเนื้อของพลาสติกทำให้เกิดโพรงจากนั้นนำมารีดเป็นแผ่นแล้ว
จึงนำไปบ่ม โดยใช้อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ประมาณ 3 – 6 วัน เพื่อทำให้โฟมเกิดการพองตัว
มีความนุ่มและยืดหยุ่น อย่างถาวร บรรจุภัณฑ์โฟมมีหลายแบบ เช่น ถาดแบน ถาดหลุม กล่องที่มีฝาปิด นิยมนำมาใช้บรรจุผลไม้ ผักอาหารแห้ง อาหารกึ่งสำเร็จรูป เนื่องจากดูสะอาดและสวยงาม เก็บรักษาความร้อย ความเย็นของผลิตภัณฑ์ได้ดี ไม่ดูดน้ำและน้ำมัน มีความเป็นกลางและปลอดภัยในการสัมผัสอาหาร และช่วยเก็บความสดของอาหารไว ้ในระยะสั้น ๆ ได้ในขณะจัดจำหน่ายหรือในการขนส่ง
3.2.4 หลอดลามิเนต ( Laminate Tube ) เป็นหลอดพลาสติก ประกอบด้วยพลาสติกซ้อนกันหลายชั้น หนาประมาณ 0.33 มิลลิเมตรมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับหลอดโลหะ ตัวหลอดทำมาจากวัสดที่สามารถป้องกัน ความชื้นและออกซิเจน ซึ่งเป็นผลทำให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย ตัวหลอดทำมาจากพลาสติกบ้างประเภท พอลิบิวทีลีนเทอร์ฟะทาเลต( Polybutylene Terephthallate : PBT ) หรือ พอลิโพไพรลีน( Polybutylene : PP ) ซึ่งมีคุณสมบัติป้องกันก๊าซและไอน้ำ นิยมนำมาบรรจุผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น กาว สี ยา และผลิตภัณฑ์ บำรุงเส้นผม กระบวนการผลิตหลอดลามิเนตมี 2 แบบ
( 1 ) การประกอบแบบอัดรีด ( Extrucsion Laminate ) เป็นการนำแผ่นพลาสติกกับแผ่นเปลวอะลูมิเนียม มาอัดเป็นแผ่นเดียวกั-น ซึ่งมีคุณสมบัติสกัดกั้นความชื้นและออกซิเจน
( 2 ) การประกอบแบบรีดร่วม ( Coextrusion Laminate ) เป็นการนำแผ่นพลาสติกกับ
แผ่น EVOHซึ่งเป็นแผ่นพลาสติกใสนำมารีดให้เป็นแผ่นเดียวกัน ทำให้ตัวหลอดมีลักษณะเนื้อเดียวกัน
ไม่มีรอยต่อ จึงมีคุณสมบัติที่ดีกว่าแบบอัดรีด แต่มีค่าใช้จ่ายในการผลิตสูง
จะแข็งตัวแต่สามารถทำให้เหลวได้ หากใช้ความร้อนและความดันที่เหมาะสม พลาสติกที่นิยมนำมาใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ คือ พอลิเอทาลีน (Polyethylene : PE) พอลิโพรไพลีน (Polypropylene :PP) พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC )พอลิสไตรีน(Polystyrene : PS )
พอลิเอไมด์ ( Polyamide : PA ) พอลิเอทีลีนเทเรฟทาเลต ( Polyethylene Telleftalate :PET )
พอลิไวนิลลิดีนคลอไรด์ ( Polyvinylidinechloride : PVDC ) พลาสติกที่นำมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์
จำแนกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ
3.1 พวกที่เปารีดเป็นแผ่นหรือเรียกกันว่า ฟิล์ม ใช้ทำถุงหรือห่อรัดสินค้า
เช่น ฟิล์มยืด ฟิล์มหด การผนึกแบบแผ่น
3.2 พวกที่ขึ้นรูปเป็นภาชนะบรรจุคงรูป เช่น ขวด กล่อง ถัง ลัง โฟม ตะกร้า
3.1 พวกที่เปารีดเป็นแผ่น ได้แก่
3.1.1 ฟิล์มยืด ( Stretch Film ) คือ ฟิล์มพลาสติกชนิดหนึ่ง ที่มีความเหนียวและความ
ยืดหยุ่นตัวสูง ฟิล์มยืดจะเกาะติดกันเองได้เมื่อดึงฟิล์มให้ยืดออกเล็กน้อย ทำให้สะดวกในการห่อรัดสินค้านิยมนำมาใช้ห่อรัดผลิตภัณฑ์ที่เสียง่ายเมื่อถูกความร้อน เช่น ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์และอาหารสด ซึ่งวางขายตามซุปเปอร์มาเก็ตทั่วไป พลาสติกที่นำมาใช้ผลิตฟิล์มยืด คือ พอลิเอทาลีน
( Polyethylene : PE ) ) พอลิโพรไพลีน ( Polypropylene : PP ) พอลิไวนิลคลอไรด์
( Polyvinylchloride : PVC ) โดยในกระบวนการผลิตจำเป็นต้องเติมสารบางชนิดลงไปเพื่อเพิ่ม
คุณภาพที่ดีขึ้น ได้แก่
(1) สารเกาะติด ( Cling Agent ) เพื่อช่วยให้ฟิล์มยืดเกาะติดกันได้ดีขึ้น เมื่อใช้ห่อสินค้า
(2) สารป้องกันออกซิเดชั่น เพื่อป้องกันการสลายตัวของพลาสติก ในระหว่างการผลิต
(3) สารป้องกันการเกาะติด (Antiblock Agent) ปงกันฟิล์มยืดเกาะติดกันแน่นขณะม้วนหรือพับกันเป็นขดใหญ่
(4) สารป้องดกันรังสีอุลตร้าไวโอเลต ( UV Inhibitor ) เพื่อเป็นการยืดอายุของฟิล์มยืดในการใช้งาน นอกอาคาร
3.1.2 ฟิล์มหด ( Shrink Film ) คิพลาสจติกที่ทำให้เรียงตัวกันในขั้นตินของการผลิตฟิล์ม พลาสติกที่นำมาผลิตเป็นฟิล์มหด คือ พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC ) และพอลิเอทีลีนชนิดความ หนาแน่นต่ำ ( Low Doensity Polyethylene : LDPE ) การใช้งานทำได้โดยการนำฟิล์มมาทำเป็นถุงแล้วสวมครอบสินค้าอย่างหลวม ๆ จากนั้นนำไปผ่านความร้อน
ซึ่งได้มาจาก ปืนก๊าซหรืออุโมงค์ความร้อน เป็นผลให้ฟิล์มหดตัวและรัดแน่นติด กับสินค้าที่ครอบอยู่
นิยมนำไปห่อรัดสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่มีหลายชิ้นให้เป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการขนส่งสินค้าและเก็บรักษา เช่น กระดานไวท์บอร์ด เครื่องเขียน สมุด ใช้หุ้มสินค้าปลีกกับของแถมเข้าด้วยกันเป็นต้น
การผนึกแบบแผ่น เป็นการหีบห่อสินค้าที่อาศัยเพียงพลาสติกกับแผ่นกระดาษแข็ง ๆ
ก็สมารถห่อหุ้มสินค้าได้ มี 2 วิธี คือ
(1) การผนึกแบบบลิสเตอร์ (Blister Packaging ) เป็นกานนำพลาสติกประเภทเซลลูโลส พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC ) พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS ) ที่ขึ้นรูปตามรูปร่างของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ มีแผ่นกระดาษแข็งรองด้านล่าง โดยสารเคลือบให้ผนึกติดกัน สินค้าที่นิยมบรรจุด้วยวิธีนี้ ได้แก่ เครื่องสำอาง ของเล่น อุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็ก เป็นต้น
(2) การผนึกแบบสกิน ( Skin Packaging ) เป็นการนำตัวสินค้าหรือผลิตภัณฑ์มาเป็นแบบให้กับแผ่นพลาสติก โดยพลาสติกที่ใช้ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride :PVC)
พอลิเอทาลีน ( Polyethylene : PE ) และไอโอโนเมอร์ และทำการบรรจุแบบสุญญากาศ ทำให้แผ่นพลาสติกแนบติดกับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่นิยมบรรจุด้วยวิธีนี้ได้แก่ ตะเกียง
เครื่องพิมพ์ดีด กระเบื้อง แก้วเจียรใน เป็นต
3.2 พวกที่ขึ้นรปูเป็นภาชนะบรรจุคงรูป ได้แก่
3.2.1 ขวดพลาสติก นิยมนำมาใช้แทนขวดแก้ว เพราะผลิตได้รวดเร็ว สวยงาม ราคาถูก
เนื่องจากขวดพลาสติกเป็นภาชนะบรรจุชนิดแข็ง ( Rigid Container ) มีประโยชน์ในการคุ้มครองสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทั้งทางด้านความแข็งแรงด้านคุณภาพ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของพลาสติกที่นำมาใช้ในการผลิต พลาสติกที่นำมานิยมผลิตเป็นขวดพลาสติก มีคุณสมบัติและประโยชน์การนำไปใช้
ดังนี้ชนิดพลาสติกและการนำไปใช้ประโยชน์
- พลาสติกชนิดพอลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นสูง ( High Density Polyethylene : HDPE)
คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 121 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย มีกลิ่นเหม็นเหมือนขี้ผึ้งพาราฟิน
ป้องกันน้ำซึมผ่านได้ไม่ทนต่อไขมัน น้ำมัน กรด
การนำไปใช้ประโยชน ขวดนม กล่องผงซักฟอก ขวดน้ำดื่ม ที่ใส่เครื่องสำอาง- พลาสติกชนิดพอลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นสูง ( High Density Polyethylene : HDPE คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 149 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย ไม่ดับเอง มีกลิ่นเหม็นเหมือนขี้ผึ้งพาราฟิน
ป้องกันน้ำซึมได้ดี ทนกรดได้ปานกลาง ไม่ทนความเย็น การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดยา ขวดบรรจุน้ำผลไม้ ขวดแชมพู ขวดบรรจุเครื่องสำอาง
- พอลิไวนิลคลอไรด์ ( Polyvinylchloride : PVC ) คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 74-93 องศา เซลเซียส ติดไฟค่อนข้างยากและดับ มีกลิ่นเหม็นเหมือน
ขี้ผึ้งพาราฟิน ป้องกันน้ำซึมได้ดี ทนกรดได้ดี
การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดน้ำมันพืช ขวดน้ำส้มสายชู ขวดเครื่องสำอาง ขวดบรรจุผลิตภัณฑ์เคมี
พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS )
คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 70-107 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย ดับเอง มีควันดำ มีกลิ่นเหมือนดอกไม้
ทนกรดได้ปานกลาง
การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดบรรจุยา ขวดบรรจุวิตามิน ขวดบรรจุเครื่องเทศ ขวดบรรจุนม
พอลิเอทีลีนเทเรเลต( Polyethylene Telleftalate : PET )
คุณสมบัติ หลอมตัวที่ 250 องศา เซลเซียส ติดไฟง่าย ไม่ดับเอง มีกลิ่นทำให้เวียนศีรษะ
มีลักษณะใสเหมือนแก้ว ป้องกันน้ำ ไขมัน ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกด์ได้ดี
การนำไปใช้ประโยชน์ ขวดน้ำอัดลม ขวดเบียร์ ขวดแชมพู ขวดโคโลญ ขวดโลชั่น
3.2.2 รีทอร์ต เพาซ์ ( Retort Pouch ) เป็นบรรจุภัณฑ์รูปแบบหนึ่งที่สามารถบรรจุสินค้า
หรือผลิตภัณฑ์แล้วนำไปฆ่าเชื้อด้วยความร้อน คุณสมบัติของ2 รีทอร์ต เพาซ์ ต้องทนอุณหภูมิ
ที่ต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส และสูงถึง 120 องศาเซลเซียส ช่วยในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ไว้ได้นาน
หลายปี รูปทรงของรีทอร์ตเพาซ์ที่นิยมมากที่สุดคือ เป็นถุงประกอบด้วยฟิล์มพลาสติกซ้อนกันหลาย
ชั้นมักมีการเสริมด้วย อะลูมิเนียมฟอยด์ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการกันน้ำและก๊าซได้ นิยมนำมาใช้
ในการบรรจุอาหาร
3.2.3 โฟม ( Foam ) เป็นพลาสติกประเภทหนึ่ง โดยการนำเม็ดพลาสติก อาทิ
( Polyethylene : PE ) พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS ) พอรียูรีเทน ( Polyulytane : PU )
พลาสติก ที่นิยม ใช้มากที่สุด คือ พอลิสไตรีนที่ขยายตัวแล้วเรียกว่า Expanted Polystyrene ( EPS)
นำมาเติมสารเร่งฟู จำพวก ไฮโดรคาร์บอน เช่น เพนเทน ฟรีออน แล้วใช้ความร้อยเข้าไป
จนกระทั่งสารเร่งฟูเกิดการสลายตัว กลาย เป็นก๊าซ
ซึ่งก๊าซที่เกิดขึ้นนี้จะแทรกตัวเข้าไปในเนื้อของพลาสติกทำให้เกิดโพรงจากนั้นนำมารีดเป็นแผ่นแล้ว
จึงนำไปบ่ม โดยใช้อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ประมาณ 3 – 6 วัน เพื่อทำให้โฟมเกิดการพองตัว
มีความนุ่มและยืดหยุ่น อย่างถาวร บรรจุภัณฑ์โฟมมีหลายแบบ เช่น ถาดแบน ถาดหลุม กล่องที่มีฝาปิด นิยมนำมาใช้บรรจุผลไม้ ผักอาหารแห้ง อาหารกึ่งสำเร็จรูป เนื่องจากดูสะอาดและสวยงาม เก็บรักษาความร้อย ความเย็นของผลิตภัณฑ์ได้ดี ไม่ดูดน้ำและน้ำมัน มีความเป็นกลางและปลอดภัยในการสัมผัสอาหาร และช่วยเก็บความสดของอาหารไว ้ในระยะสั้น ๆ ได้ในขณะจัดจำหน่ายหรือในการขนส่ง
3.2.4 หลอดลามิเนต ( Laminate Tube ) เป็นหลอดพลาสติก ประกอบด้วยพลาสติกซ้อนกันหลายชั้น หนาประมาณ 0.33 มิลลิเมตรมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับหลอดโลหะ ตัวหลอดทำมาจากวัสดที่สามารถป้องกัน ความชื้นและออกซิเจน ซึ่งเป็นผลทำให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย ตัวหลอดทำมาจากพลาสติกบ้างประเภท พอลิบิวทีลีนเทอร์ฟะทาเลต( Polybutylene Terephthallate : PBT ) หรือ พอลิโพไพรลีน( Polybutylene : PP ) ซึ่งมีคุณสมบัติป้องกันก๊าซและไอน้ำ นิยมนำมาบรรจุผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น กาว สี ยา และผลิตภัณฑ์ บำรุงเส้นผม กระบวนการผลิตหลอดลามิเนตมี 2 แบบ
( 1 ) การประกอบแบบอัดรีด ( Extrucsion Laminate ) เป็นการนำแผ่นพลาสติกกับแผ่นเปลวอะลูมิเนียม มาอัดเป็นแผ่นเดียวกั-น ซึ่งมีคุณสมบัติสกัดกั้นความชื้นและออกซิเจน
( 2 ) การประกอบแบบรีดร่วม ( Coextrusion Laminate ) เป็นการนำแผ่นพลาสติกกับ
แผ่น EVOHซึ่งเป็นแผ่นพลาสติกใสนำมารีดให้เป็นแผ่นเดียวกัน ทำให้ตัวหลอดมีลักษณะเนื้อเดียวกัน
ไม่มีรอยต่อ จึงมีคุณสมบัติที่ดีกว่าแบบอัดรีด แต่มีค่าใช้จ่ายในการผลิตสูง
ไม้เป็นวัสดุที่นำมาใช้เป็นหีบห่อที่เก่าที่สุดในโลกจนถึงปันจุบันไม้ก็ยังเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมอย่างเช่นเคยถึงแม้ว่ามีวัสดุอื่นมาทดแทนได้ แต่ส่วนใหญ่ยังคงใช้ไม้เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทาน กว่าวัสดุอื่นแต่มีปัญหาด้านการทำลาย และข้อจำกัดของผู้นำเข้าสินค้า เช่น การห้ามใช้สารบ้างชนิด เพื่อรักษาเนื้อไม้ การเปิดตรวจสอบของกรมศุลกากร ดังนั้นในการผลิตบรรจุภัณฑ์ ไม้ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม ของสินค้า วิธีการขนส่ง ระยะเวลาในการขนส่ง น้ำหนัก บรรทุก การเข้ามุมของไม้และประเภทของไม้ที่นำมาผลิต เป็นต้น |
ไม้เป็นวัสดุที่นำมาใช้เป็นหีบห่อที่เก่าที่สุดในโลก จนถึงปันจุบันไม้ก็ยังเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมอย่างเช่นเคย ถึงแม้ว่ามีวัสดุอื่นมาทดแทนได้ แต่ส่วนใหญ่ยังคงใช้ไม้เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทานกว่าวัสดุอื่น แต่มีปัญหาด้านการทำลาย และข้อจำกัดของผู้นำเข้าสินค้า เช่น การห้ามใช้สารบ้างชนิดเพื่อรักษาเนื้อไม้ การเปิดตรวจสอบของกรมศุลกากร ดังนั้นในการผลิตบรรจุภัณฑ์ ไม้ต้อคำนึงถึงความเหมาะสม ของสินค้า วิธีการขนส่ง ระยะเวลาในการขนส่ง น้ำหนักบรรทุก การเข้ามุมของไม้
และประเภทของไม้ที่นำมาผลิต เป็นต้น
4.1 ประเภทของไม้ที่นำมาผลิตบรรจุภัณฑ์ แบ่งได้เป็น 4 ประเภท
4.1.1 ไม้แผ่น คือ ไม้ที่ได้จากการเลื่อยซุงเอาเปลือกออก ขนาดของไม้ที่นิยมนำมาทำหีบห่อมี ขนาด 50 x 50 มิลลิเมตร หรือ 125 x 20 มิลลิเมตร เป็นต้น ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
4.1.2 เป็นการนำไม้ซุงให้เป็นแผ่นบาง เรียกว่า วีเนียร์ ( Veneer ) มีลักษณะผิวเรียบ
ความหนาสม่ำเสมอมีความชื้นร้อยละ 2 – 3 แล้วนำมาวางเรียงซ้อนกันโดยแต่ละชั้นให้ขวางเส้นใยกันตั้งแต่3ชั้น ขึ้นไป ยิ่งมากชั้นคุณภาพยิ่งดี เพราะโอกาสโค้งงอมีน้อยจากนั้นใช้กาวติด แล้วอัดด้วยความร้อน ไม้อัดขนาด มาตรฐานที่นำมาใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ คือ ขนาด 2,400 x 1,200 มิลลิเมตร
4.1.3 แผ่นเส้นใยไม้อัด เป็นการนำเศษไม้มาย่อยเป็นเศษใย นำไปผสมกาวอัดเป็นแผ่น เหมาะกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องการความทนทานมากนัก แต่หากต้องการความแข็งแรงต้องใช้ไม่อื่นมาประกบ เพื่อเสริมความแข็งแรง แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
( 1 ) เส้นใยไม้อัดชนิดมาตรฐาน มีความหนาประมาณ 2 – 6มิลลิเมตร ทนต่อแรงกดดันได้
800กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
( 2 ) เส้นใยไม้ชนิดทนต่อความชื้น มีความหนาประมาณ 3 – 12 มิลลิเมตร ทนต่อแรงกดดันได้960กิโลกรัมต่อลูกบาศ์เมตร
4.1.4 แผ่นขชิ้นไม้อัด เป็นการนำไม้ซุงมาลอกเปลือกออกตัดเป็นท่อน จากนั้นทำให้เป็นเกล็ดอบให้แห้งแล้วผสมกาวอัดให้เป็นแผ่น เหมาะสำหรับใช้ทำลังหรือแผ่นรองรับสินค้าเนื่องจากเบาแล้วมีความแข็งแรง พอสมควร แบ่งได้ 3 ชนิด
( 1 ) แผ่นชิ้นไม้สับ( Chipboard ทำจากไม้อัดติดกับกาว มีความหนาประมาณ 3- 50 มิลลิเมตร เหมาะสำหรับทำเป็นแท่นรองรัยสินค้า แต่ไม่เหมาะกับการทำเป็นหีบห่อสินค้า เพราะมีความแข็งแรงต่อน้ำหนักต่ำ
( 2 ) แผ่นเกล็ดไม้อัด ( Waferboard ) ทำจากไม้ที่เลื่อยเป็นแผ่นชิ้นบาง ๆ เรียกว่าเกล็ดนำมาวางซ้อนกันเป็นชั้นโดยวางสลับกันจนเป็นแผ่น อัดด้วยกาว อบให้แห้งเหมาะสำหรับการหีบห่อสินค้าทีมีน้ำหนักไม่มาก
( 3 ) สแตนด์บอร์ด ( Standboard ) ทำมาจากไม้ที่เลื่อยให้เป็นเส้นเกลียว นำไปผสมกับกาว อัดเป็นแผ่น เหมาะสำหรับใช้ทำลังและแท่นรองรับสินค้า
4.2ประเภทของบรรจุภัณฑ์ไม้
บรรจุภัณฑ์ไม้มีความหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า และความต้องการของผู้ใช้
แบ่งได้ 7 ประเภท คือ กล่องไม้ ลังไม้ ลังไม้อัด ถาดไม้ เข่งไม้ไผ่ กล่องกระดาษ ถุงและซอง
4.2.1 กล่องไม้ ( Box ) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความเก่าแก่ทีสุดที่ทำจากไม้ มีการพัฒนาค่อนข้างน้อย ปันจุบันกล่องไม้ที่นิยมใช้กันมี 5 แบบ ดังรูป
และประเภทของไม้ที่นำมาผลิต เป็นต้น
4.1 ประเภทของไม้ที่นำมาผลิตบรรจุภัณฑ์ แบ่งได้เป็น 4 ประเภท
4.1.1 ไม้แผ่น คือ ไม้ที่ได้จากการเลื่อยซุงเอาเปลือกออก ขนาดของไม้ที่นิยมนำมาทำหีบห่อมี ขนาด 50 x 50 มิลลิเมตร หรือ 125 x 20 มิลลิเมตร เป็นต้น ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
4.1.2 เป็นการนำไม้ซุงให้เป็นแผ่นบาง เรียกว่า วีเนียร์ ( Veneer ) มีลักษณะผิวเรียบ
ความหนาสม่ำเสมอมีความชื้นร้อยละ 2 – 3 แล้วนำมาวางเรียงซ้อนกันโดยแต่ละชั้นให้ขวางเส้นใยกันตั้งแต่3ชั้น ขึ้นไป ยิ่งมากชั้นคุณภาพยิ่งดี เพราะโอกาสโค้งงอมีน้อยจากนั้นใช้กาวติด แล้วอัดด้วยความร้อน ไม้อัดขนาด มาตรฐานที่นำมาใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ คือ ขนาด 2,400 x 1,200 มิลลิเมตร
4.1.3 แผ่นเส้นใยไม้อัด เป็นการนำเศษไม้มาย่อยเป็นเศษใย นำไปผสมกาวอัดเป็นแผ่น เหมาะกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องการความทนทานมากนัก แต่หากต้องการความแข็งแรงต้องใช้ไม่อื่นมาประกบ เพื่อเสริมความแข็งแรง แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
( 1 ) เส้นใยไม้อัดชนิดมาตรฐาน มีความหนาประมาณ 2 – 6มิลลิเมตร ทนต่อแรงกดดันได้
800กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
( 2 ) เส้นใยไม้ชนิดทนต่อความชื้น มีความหนาประมาณ 3 – 12 มิลลิเมตร ทนต่อแรงกดดันได้960กิโลกรัมต่อลูกบาศ์เมตร
4.1.4 แผ่นขชิ้นไม้อัด เป็นการนำไม้ซุงมาลอกเปลือกออกตัดเป็นท่อน จากนั้นทำให้เป็นเกล็ดอบให้แห้งแล้วผสมกาวอัดให้เป็นแผ่น เหมาะสำหรับใช้ทำลังหรือแผ่นรองรับสินค้าเนื่องจากเบาแล้วมีความแข็งแรง พอสมควร แบ่งได้ 3 ชนิด
( 1 ) แผ่นชิ้นไม้สับ( Chipboard ทำจากไม้อัดติดกับกาว มีความหนาประมาณ 3- 50 มิลลิเมตร เหมาะสำหรับทำเป็นแท่นรองรัยสินค้า แต่ไม่เหมาะกับการทำเป็นหีบห่อสินค้า เพราะมีความแข็งแรงต่อน้ำหนักต่ำ
( 2 ) แผ่นเกล็ดไม้อัด ( Waferboard ) ทำจากไม้ที่เลื่อยเป็นแผ่นชิ้นบาง ๆ เรียกว่าเกล็ดนำมาวางซ้อนกันเป็นชั้นโดยวางสลับกันจนเป็นแผ่น อัดด้วยกาว อบให้แห้งเหมาะสำหรับการหีบห่อสินค้าทีมีน้ำหนักไม่มาก
( 3 ) สแตนด์บอร์ด ( Standboard ) ทำมาจากไม้ที่เลื่อยให้เป็นเส้นเกลียว นำไปผสมกับกาว อัดเป็นแผ่น เหมาะสำหรับใช้ทำลังและแท่นรองรับสินค้า
4.2ประเภทของบรรจุภัณฑ์ไม้
บรรจุภัณฑ์ไม้มีความหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า และความต้องการของผู้ใช้
แบ่งได้ 7 ประเภท คือ กล่องไม้ ลังไม้ ลังไม้อัด ถาดไม้ เข่งไม้ไผ่ กล่องกระดาษ ถุงและซอง
4.2.1 กล่องไม้ ( Box ) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความเก่าแก่ทีสุดที่ทำจากไม้ มีการพัฒนาค่อนข้างน้อย ปันจุบันกล่องไม้ที่นิยมใช้กันมี 5 แบบ ดังรูป
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest1/science04/110/body17.html